เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
อุทัย, พระนครศรีอยุธยา, Thailand

วันศุกร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

LAB#1 Power Bank 30000mA Test



LAB#1 การทดสอบความจุ Power Bank 30000mA โดยใช้โหลดจำลองแทนโทรศัพท์มือถือ


อุปกรณ์ที่ใช้ใน LAB#1 นี้

วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

บทที่ 11 มารู้จักทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า (FET) กันเถอะ EP1



สัญลักษณ์ของ E - Mosfet

ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า


          ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า หรือที่เรานิยมเรียกกันว่า เฟต (FET ย่อมาจาก Field Effect Transistor) เป็นทรานซิสเตอร์ชนิดหนึ่งซึ่งมีหลักการทำงานด้วยการใช้สนามไฟฟ้าควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า 

วันเสาร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2562

บทที่ 10 มารู้จักทรานซิสเตอร์กันเถอะ EP4 (วงจรขยายกระแสของ IC Regulator)


วงจรขยายกระแส IC78XX

         วงจรขยายกระแส IC78XX 79XX นั้นช่วยให้เราใช้ขีดความสามารถของวงจรให้สามารถจ่ายกระแสเพิ่มขึ้นได้โดยที่แรงดัน Output คงที่ในระดับที่น่าพอใจ(ใกล้เคียงกับค่าของตัว IC มากๆ)

วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2562

บทที่ 9 มารู้จักทรานซิสเตอร์กันเถอะ EP3 (Zener and Transistor Regulator)


Zener and Transistor Regulator

         วงจรซีเนอร์ไดโอดและทรานซิสเตอร์เร็กกูเลเตอร์นั้น คือวงจรที่ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อใช้รักษาระดับแรงดัน Output ให้คงที่ มีข้อดีตรงที่แรงดัน Ripple Output ค่อนข้างต่ำออกแบบได้ง่าย ปรับเปลี่ยนได้ง่าย สัญญาณรบกวนต่ำ

วันเสาร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2562

บทที่ 8 มารู้จักทรานซิสเตอร์กันเถอะ EP2 (Cut-off & Satuation Region)


สัญลักษณ์ของทรานซิสเตอร์

การทำงานของทรานซิสเตอร์ แบ่งเป็น 3 รูปแบบดังนี้



          1. Cut-off Region (บทที่ 8 , 9 , 10)
          2. Satuation Region (บทที่ 8 , 9 , 10)
          3. Active Region (ผมยังไม่เชี่ยวชาญโหมดนี้ ขอมาเพิ่มเติมบทความในอนาคตนะครับ)

วันศุกร์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2562

บทที่ 7 มารู้จักทรานซิสเตอร์กันเถอะ EP1


สัญลักษณ์ของทรานซิสเตอร์

ทรานซิสเตอร์

          ทรานซิสเตอร์ หรือชื่อภาษาอังกฤษ Transistor คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ทำหน้าที่ควบคุมปริมาณการไหลของกระแสไฟฟ้า

วันจันทร์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2562

บทที่ 6 การคำนวณวงจรซีเนอร์ไดโอด


วงจรซีเนอร์ไดโอดพื้นฐาน

การเริ่มต้นใช้งานซีเนอร์ไดโอดอย่างง่าย

          ก่อนที่เราจะออกแบบวงจรควบคุมแรงดันด้วยซีเนอร์ไดโอดนั้น เราต้องรู้ก่อนว่า เราจะทำให้ซีเนอร์ไดโอดทำงานได้อย่างไร ว่าแล้วเรามาดูวิธีง่ายๆกันเลยดังนี้

วันพฤหัสบดีที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2562

บทที่ 5 มาเรียนรู้ซีเนอร์ไดโอดกันเถอะ


สัญลักษณ์ของซีเนอร์ไดโอด

ซีเนอร์ไดโอด

          ซีเนอร์ไดโอด หรือชื่อภาษาอังกฤษ Zener diode เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ที่จัดอยู่ในกลุ่มของไดโอด แต่เราจะนำมาใช้งานแบบไบอัสกลับ เนื่องจากตัวซีเนอร์ไดโอดนั้น ถูกออกแบบมาให้กระแสสามารถไหลแบบไบอัสกลับได้

วันศุกร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2562

บทที่ 4 มาลองใช้งานไดโอดกันเถอะ



การเริ่มต้นใช้งานไดโอดอย่างง่าย

          การที่เราจะใช้งานไดโอดนั้น เราต้องรู้ก่อนว่าจะทำให้ไดโอดทำงานได้อย่างไร เรามาดูวิธีง่ายๆกันเลยดังนี้ โดยเราต้องป้อนไฟบวกให้ P และป้อนไฟลบให้ N มากกว่าแรงดัน Vf เรียกว่า ไบอัสตรง ส่วนรายละเอียดอื่นๆให้ยึดตามที่กล่าวมาในบทก่อนหน้า

วันจันทร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

บทที่ 3 มารู้จักไดโอดกันเถอะ

       

ไดโอด

ไดโอด 

          ไดโอดหรือชื่อภาษาอังกฤษ Diode เป็นชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ชนิดสองขั้วคือ P (Anode) และ N (Cathode)ที่ออกแบบมาเพื่อควบคุมทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า มันจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลในทิศทางเดียว

วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

บทที่ 2 ตัวต้านทาน


ตัวต้านทาน

          ตัวต้านทาน หรือชื่อภาษาอังกฤษ Resistor เป็นอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าซึ่งมีใช้มากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ปัจจุบัน

วันพฤหัสบดีที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

บทที่ 1 ความหมาย


ก่อนอื่นผมต้องขอกราบสวัสดีและขอบคุณ ทุกๆท่านที่เข้ามาเริ่มอ่านบทความของผมนะครับ


เรามาเริ่มต้นกันเลยดีกว่าครับ ศาสตร์ของอิเล็กทรอนิกส์คืออะไร สำหรับผมผมขอนิยาม ศาสตร์ของอิเล็กทรอนิกส์ว่าคือ ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับ "การควบคุมการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า"